วันเสาร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2556

การฝึกเป่าลายเต้ยโขง(ลายใหญ่)

การฝึกเป่าลายเต้ยโขง(ลายใหญ่)



คำแนะนำวิธีฝึกการใช้ลม

            1.ลายเต้ยโขงใช้โน้ตเดียวกันกับเพลงเต้ยโขงแต่การใช้ลมจะแตกต่างกันคือ     ในแต่ละห้องให้ใช้ช่วงลมเดียวแต่แบ่งลมเป่าออกเป็น 2 จังหวะย่อยเท่ากันเสมอทุกห้อง เช่น ถ้า 1 ห้องเพลงมีตัวโน้ต 1 ตัว ( 1 ระดับเสียง) ก็จะเป่าลมออกสองครั้ง ดังนี้เป็นต้น
            2.การใช้ลม ให้ทำริมฝีปากห่อเข้าและให้จรดกับรูปากเป่าที่เต้าแคนให้แน่น  ขณะเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกให้ผันลิ้นคล้ายกับจะเปล่งคำว่า แลนแจน โดยออกเสียง คำว่า แลน และ แจน ให้สั้นที่สุด และเน้นการใช้ลมให้หนักที่โน้ตตัวสุดท้ายของห้อง(จังหวะตก)

แบบฝึกที่ 1

โน้ต

 - - - -
 - - -
- - -
- -
- - -
- ดํ -
- - -
- -

การใช้ลม

    
 ล    จ
 ล    จ
  ล    จ
 ล    จ
  ล    จ
 ล    จ
  ล    จ
คำอธิบาย  การใช้ลม 
1. อักษร    หมายถึงผันลิ้นออกเสียงคำว่า แลน (ออกเสียงให้เร็วและสั้น)
2. อักษร    หมายถึงผันลิ้นออกเสียงคำว่า แจน (ออกเสียงให้สั้นและหนัก)
3. สำเนียงของคำว่า แลน หรือ แจน จะมีระดับเสียงสูง กลาง ต่ำ  เปลี่ยนไปตามระดับเสียงของตัวโน้ต

แบบฝึกที่ 2

โน้ต

-  -  -  -
- -
 - - -
- -
 - - -
- -
 - - -
- -

การใช้ลม

 ล    จ
  ล    จ
 ล    จ
  ล    จ
 ล    จ
  ล    จ
 ล    จ
  ล    จ

แบบฝึกที่ 3

โน้ต

 - - -
- -
- -
- -
 - - -
- -
- -
- -

การใช้ลม

  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ
  ล    จ

แบบฝึกที่ 4  ฝึกเป่าต่อเนื่องกันจนจบบท


 - - - -
 - - -
- - -
- -
- - -
- ดํ -
- - -
- -
-  -  -  -
- -
 - - -
- -
 - - -
- -
 - - -
- -
 - - -
- -
- -
- -
 - - -
- -
- -
- -

คำอธิบาย
1. ฝึกเป่าต่อเนื่องกันทั้ง 3 แบบฝึกจนจบเพลง โดยแบ่งลมเป่าเป็น 2  จังหวะย่อยต่อหนึ่งห้องเพลง ตามวิธีปฏิบัติที่เรียนมาแล้ว
2. เมื่อฝึกได้ชำนาญแล้วให้ฝึกเป่าลายเต้ยพม่าและลายเต้ยธรรมดา  โดยใช้ลมเป่า คำว่า แลนแจนเช่นเดียวกับการเป่าลายเต้ยโขง  เมื่อฝึกให้ต่อเนื่องกันทั้ง 3 ลายแคน   ก็จะเป็นการเป่าตามทำนองของหมอลำที่เรียกว่า ลำเต้ย

รายละเอียดเพิ่มเติม




ตัวอย่าง การฝึกเป่าแคนเพลงเต้ยโขง  โดยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น