วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2556

โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น


การอ่านและเขียนโน้ตแคนด้วยโน้ตเพลงไทย

        โน้ตเพลงไทยที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบคือ ระบบตัวอักษร กับระบบตัวเลข  สำหรับโน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษรมีหลักเกณฑ์การบันทึกตัวโน้ต  ดังนี้
                1. โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษร 
1.1 โน้ตหนึ่งบรรทัดจะมีโน้ตอยู่  ห้องเพลง คือ

2
 3
4
5
6
7
8

        1.2 ตัวอักษรไทยที่ใช้แทนเสียงดนตรี มีดังนี้

ตัวโน้ต

คำอ่าน

โด

เร

มี

ฟา

ซอล

ลา

ที

 

                กรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงสูงให้ใส่จุด กำกับข้างบน เช่น  ดํ  รํ  มํ    เป็นต้น   และในกรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงต่ำสุดให้ใส่จุด กำกับไว้ด้านล่างของตัวโน้ต เช่น ลฺ  ทฺ   ดังนี้เป็นต้น
2. การบันทึกตัวโน้ต  โดยปกติหนึ่งห้องเพลงจะบรรจุตัวโน้ตไว้ไม่เกิน ตัว(ยกเว้นการบรรเลงนั้นมีลักษณะพิเศษ)  มีหลายลักษณะ  ดังตัวอย่างโดยสังเขป ดังนี้
2.1 การบันทึกโน้ต 4  ตัว  เช่น
 
ล ล ล ล
ล ซ ม ด
ด ร ม ฟ
ซ ม ร ม
ด ด ม ร
ม ร ม ร
ล ล ม ร
ร ม ด ม

2.2 การบันทึกโน้ต 3 ตัว  เช่น 

- ด ร ม
- ม ร ด
- ม ซ ล
- ซ ม ร
- ร ม ซ
- ม ร ร
- ด ม ร
- ซ ร ด

2.3 การบันทึกโน้ต 2 ตัว  เช่น

-
- - ล  ซ
-  -
 -  - ม ร
- ล - ม
- ซ - ม
ร ร -  -
- ร - ด

2.4 การบันทึกโน้ต 1 ตัว  เช่น   

-  -  -  ล
-  -  -  ม
-  -  -  ด
ร  -  -  -
ม -  -  -
ล -  -   -
ม  -  -  -
-  -  -  ซ

3. อัตราจังหวะ 
3.1  การกำหนดจังหวะ  โดยปกติในหนึ่งห้องเพลงจะกำหนดไว้เป็น
จังหวะ  และในแต่ละห้องเพลงจะแบ่งออกเป็น 4 จังหวะย่อย(แต่ละจังหวะย่อยจะบันทึกตัวโน้ต 1 ตัว)ซึ่งจังหวะหนักจะตกที่ตำแหน่งสุดท้ายของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง  เช่น

- - -

 - - -    

 - - -

 ล ล ซ ม

  - ล ซ ม

  - -

 - --

     -  
                *     *                   *                *                   *            *                *                 *
                (หมายเหตุ  เครื่องหมาย *  เป็นตังอย่างที่แสดงตำแหน่งที่เป็นจังหวะตกในแต่ละห้องเพลง)
3.การทำให้โน้ตตัวสุดท้ายของห้องมีจังหวะยืดออกไปอีก  เช่น

-  -  -  ล
-  -  -  ซ
-  ม - ล
 -  -  -  -
 -  -  -  ล
- ล - ล
 -  -  -  ม
  -  -  - -

                                3.3 การเคาะจังหวะ   มีวิธีปฏิบัติดังแผนภูมิต่อไปนี้
                         ขั้นที่ 1 (ยกขึ้น)



การยกขึ้นและเคาะลงเรียกว่า 1 จังหวะ  ซึ่งจังหวะตกหรือจังหวะหนักจะตรงกับตำแหน่งสุดท้ายของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น