
การอ่านและเขียนโน้ตแคนด้วยโน้ตเพลงไทย
โน้ตเพลงไทยที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบคือ
ระบบตัวอักษร กับระบบตัวเลข สำหรับโน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษรมีหลักเกณฑ์การบันทึกตัวโน้ต ดังนี้
1. โน้ตเพลงไทยระบบตัวอักษร
1.1 โน้ตหนึ่งบรรทัดจะมีโน้ตอยู่ 8
ห้องเพลง คือ
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
7
|
8
|
1.2 ตัวอักษรไทยที่ใช้แทนเสียงดนตรี
มีดังนี้
ตัวโน้ต
|
ด
|
ร
|
ม
|
ฟ
|
ซ
|
ล
|
ท
|
คำอ่าน
|
โด
|
เร
|
มี
|
ฟา
|
ซอล
|
ลา
|
ที
|
กรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงสูงให้ใส่จุด กำกับข้างบน เช่น ดํ
รํ มํ เป็นต้น
และในกรณีที่ตัวโน้ตมีระดับเสียงต่ำสุดให้ใส่จุด กำกับไว้ด้านล่างของตัวโน้ต
เช่น ลฺ ทฺ ดังนี้เป็นต้น
2. การบันทึกตัวโน้ต
โดยปกติหนึ่งห้องเพลงจะบรรจุตัวโน้ตไว้ไม่เกิน 4 ตัว(ยกเว้นการบรรเลงนั้นมีลักษณะพิเศษ) มีหลายลักษณะ ดังตัวอย่างโดยสังเขป ดังนี้
2.1 การบันทึกโน้ต 4 ตัว เช่น
ล ล ล ล
|
ล ซ ม ด
|
ด ร ม ฟ
|
ซ ม ร ม
|
ด ด ม ร
|
ม ร ม ร
|
ล ล ม ร
|
ร ม ด ม
|
2.2 การบันทึกโน้ต 3
ตัว เช่น
- ด ร ม
|
- ม ร ด
|
- ม ซ ล
|
- ซ ม ร
|
- ร ม ซ
|
- ม ร ร
|
- ด ม ร
|
- ซ ร ด
|

- ล – ซ
|
- - ล
ซ
|
-
ล - ม
|
- - ม
ร
|
- ล - ม
|
- ซ - ม
|
ร ร -
-
|
- ร - ด
|
2.4 การบันทึกโน้ต 1
ตัว เช่น
-
- - ล
|
-
- - ม
|
-
- - ด
|
ร
- - -
|
ม -
- -
|
ล -
- -
|
ม
- - -
|
-
- - ซ
|
3. อัตราจังหวะ
3.1
การกำหนดจังหวะ
โดยปกติในหนึ่งห้องเพลงจะกำหนดไว้เป็น 1
จังหวะ
และในแต่ละห้องเพลงจะแบ่งออกเป็น 4
จังหวะย่อย(แต่ละจังหวะย่อยจะบันทึกตัวโน้ต 1 ตัว)ซึ่งจังหวะหนักจะตกที่ตำแหน่งสุดท้ายของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง เช่น
- - - ล
|
- - - ซ
|
ล - - -
|
ล ล ซ ม
|
- ล ซ ม
|
-
ซ -
ม
|
- --ล
|
- - - ม
|
* * * *
* * * *
(หมายเหตุ เครื่องหมาย * เป็นตังอย่างที่แสดงตำแหน่งที่เป็นจังหวะตกในแต่ละห้องเพลง)
3.2 การทำให้โน้ตตัวสุดท้ายของห้องมีจังหวะยืดออกไปอีก เช่น
- -
- ล
|
- -
- ซ
|
- ม - ล
|
-
- - -
|
-
- - ล
|
- ล - ล
|
-
- - ม
|
-
- - -
|
3.3
การเคาะจังหวะ
มีวิธีปฏิบัติดังแผนภูมิต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 (ยกขึ้น)
การยกขึ้นและเคาะลงเรียกว่า 1 จังหวะ ซึ่งจังหวะตกหรือจังหวะหนักจะตรงกับตำแหน่งสุดท้ายของจังหวะย่อยในแต่ละห้องเพลง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น