การเป่าแคน ลายรำโปงลาง (ลายน้อย)
การเป่าแคน ลายรำโปงลาง เป็นการเป่าตามแบบทางยาวที่มีแนวทำนองแบบลายน้อย (กลุ่มเสียงสูงปานกลาง) เป็นแนวทำนองปัจจุบันที่เรียกว่า "เพลง" โดยจะติดสูดที่ลูกแคนลูกที่ 6 และ
ลูกที่ 8 แพขวา เพื่อให้เป็นเสียงเสิร์ฟหรือเสียงประสานยืน(เสียง Drone) ลักษณะการเดินทำนองจะเริ่มด้วยการบรรเลงจากระดับเสียงที่ต่ำที่สุดแล้วค่อยๆสูงขึ้นเรื่อยๆตามลำดับจนถึงระดับเสียงที่สูงที่สุด และด้วยเหตุนี้เองจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ลายไล่วัวขึ้นภู" ดังตัวอย่างโน้ตทำนอง ดังนี้
ลูกที่ 8 แพขวา เพื่อให้เป็นเสียงเสิร์ฟหรือเสียงประสานยืน(เสียง Drone) ลักษณะการเดินทำนองจะเริ่มด้วยการบรรเลงจากระดับเสียงที่ต่ำที่สุดแล้วค่อยๆสูงขึ้นเรื่อยๆตามลำดับจนถึงระดับเสียงที่สูงที่สุด และด้วยเหตุนี้เองจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ลายไล่วัวขึ้นภู" ดังตัวอย่างโน้ตทำนอง ดังนี้
โน้ตแคน ลายรำโปงลาง(ลายน้อย)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น